แก้รัฐธรรมนูญ การเมือง เศรษฐกิจ สิทธิมนุษยชน ศิลปวัฒนธรรม ต่างประเทศ คุณภาพชีวิต ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม ไอซีที อินโฟกราฟิก แรงงาน วารสาร คนทำงาน กวีประชาไท สัมภาษณ์ กีฬา
ร.บ. ฉบับนี้ทำให้คู่รักเพศเดียวกันกลายเป็นพลเมืองชั้นสอง อีกทั้งสิทธิที่ได้รับจากร่าง พ.ร.บ.ก็น้อยมากเมื่อเทียบกับกฎหมายสมรสแบบชาย-หญิง ตัวอย่างเช่น
ปัจจัยทางประวัติศาสตร์: สังคมอุษาคเนย์ยอมรับการมีอยู่ของผู้มีความหลากหลายทางเพศมานานแล้ว
ด้วยเหตุนี้ เขาจึงมองว่าสังคมไทยซึ่งมีความพหุวัฒนธรรมค่อนข้างสูงจึงเป็นสังคมที่ยืดหยุ่นโดยทุนเดิม
ทุกบุคคลจะได้รับความเท่าเทียม และได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย ตามหลักความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีสิทธิในการหมั้น, สิทธิจดทะเบียนสมรส, สิทธิจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส, สิทธิเป็นผู้จัดการแทนในทางอาญาเช่นเดียวกับสามี-ภรรยา, สิทธิรับมรดกหากอีกฝ่ายเสียชีวิต, สิทธิรับบุตรบุญธรรม, สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม, สิทธิเซ็นยินยอมให้รักษาพยาบาลอีกฝ่าย, สิทธิจัดการศพ เป็นต้น
คำบรรยายภาพ, ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล
กำหนดให้ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมี "คู่สมรส" หรือ "คู่ชีวิต" อยู่ไม่ได้
ครม.ให้เปลี่ยนคำ ‘เพศเดียวกัน’ เป็น ‘เพศหลากหลาย’ ในร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียมฯ
ขอกฎหมายใช้ได้ทันที เพราะ “เขารอมาตั้งนาน”
เมื่อแรงงานฝีมือวัยหนุ่มสาวชาวจีน ดิ้นรนหนีออกนอกประเทศ
สิทธิในการแต่งงานที่เท่าเทียม นำมาซึ่งสิทธิที่เท่าเทียมกันหากคู่รักใช้ชีวิตมาจนจุดแยกจากกันด้วย โดยจะมีสิทธิในการฟ้องหย่า สิทธิในการฟ้องร้องอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น สิทธิการเลี้ยงดูบุตร การเรียกค่าเลี้ยงชีพตามแต่กรณีการหย่าร้างที่เกิดขึ้น จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม และสิทธิในสินสมรส
จับตาศึกชิงเก้าอี้ร้อน ‘ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ’ ที่มีอำนาจควบคุม ธปท.
"ฉันไม่ได้เข้ามาในสภาเพื่อเป็นสีสัน หรือชนชั้นสอง"
พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม บันไดก้าวสู่สิทธิพื้นฐานสำหรับคู่รักทุกเพศ